|
|
 |
|
องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทอง จากเดิมเป็นสภาตำบลดอนทอง ขณะนี้กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2539 และได้รับการยกฐานะจากสภาตำบล ขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 โดยได้รับการยกฐานะตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม 113 ตอนที่ 9 ง. ลงวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2539 ทำให้มีผลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลดอนทอง เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2539 (องค์การบริหารส่วนตำบลรุ่นที่ 2) |
|
|
 |
|
องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทอง ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองพิษณุโลกทาง ทิศเหนือประมาณ 15 กิโลเมตร สถานที่ตั้งอยู่เขตหมู่ที่ 2 ติดถนนเส้นพิษณุโลก - เด่นชัย เลขที่ 200 หมู่ 2 ตำบลดอนทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ มีพื้นที่ประมาณ 75 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 46,875 ไร่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.บ้านป่า |
อ.เมืองพิษณุโลก |
จ.พิษณุโลก |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.สมอแข |
อ.เมืองพิษณุโลก |
จ.พิษณุโลก |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.วังทอง |
อ.วังทอง |
จ.พิษณุโลก |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.หัวรอ |
อ.เมืองพิษณุโลก |
จ.พิษณุโลก |
|
|
|
    |
|
|
|
|
|
 |
|
ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบลุ่มและพื้นที่ราบสูง มีพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยใช้น้ำบึงและหนองน้ำสาธารณะทำการเกษตร ปัจจุบันได้มีหน่วยงานอื่นดำเนินการสร้างอ่างเก็บน้ำ เพื่อการเกษตร คือ อ่างเก็บน้ำห้วยส้มเค็ม หมู่ที่ 10 และมีการขุดลอกคลองส่งน้ำ เพื่อการเกษตรไหลผ่านหลายหมู่บ้าน จึงทำให้การประกอบอาชีพทางการเกษตร มีผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้น ซึ่งในอนาคตองค์การบริหารส่วนตำบลดอนทอง มีโครงการที่จะพัฒนาอ่างเก็บน้ำห้วยส้มเค็ม ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวของตำบลต่อไป |
|
|
 |
|
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน และเลี้ยงสัตว์ แสดงตารางรายละเอียด ดังนี้ |

 |
เกษตรกรรม |
ร้อยละ 52.26 |

 |
ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ |
ร้อยละ 8.29 |

 |
รับจ้างทั่วไป |
ร้อยละ 23.19 |

 |
อื่นๆ |
ร้อยละ 16.26 |
|
|
|
|
|
|
|
มี 3 ฤดู คือ |

 |
ฤดูร้อน |

 |
ฤดูหนาว |

 |
ฤดูฝน |
|
|
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 13,199 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 6,436 คน |
คิดเป็นร้อยละ 48.76 |

 |
หญิง จำนวน 6,763 คน |
คิดเป็นร้อยละ 51.24 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 5,484 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 175.99 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านดอนทอง |
526 |
588 |
1,114 |
538 |
|
 |
2 |
|
บ้านดอนทอง |
435 |
480 |
915 |
442 |
 |
|
3 |
|
บ้านบึงถัง |
333 |
346 |
679 |
296 |
|
 |
4 |
|
บ้านตาลสุวรรณ |
559 |
622 |
1,181 |
559 |
 |
|
5 |
|
บ้านปากห้วย |
581 |
652 |
1,233 |
548 |
|
 |
6 |
|
บ้านสะอัก |
714 |
772 |
1,486 |
603 |
 |
|
7 |
|
บ้านเต็งสำนัก |
318 |
338 |
656 |
284 |
|
 |
8 |
|
บ้านหนองกวางลี้ |
563 |
607 |
1,170 |
465 |
 |
|
9 |
|
บ้านร้องยุ้งข้าว |
737 |
736 |
1,473 |
490 |
|
 |
10 |
|
บ้านน้ำดำ |
569 |
563 |
1,132 |
374 |
 |
|
11 |
|
บ้านร้องหวายฝาด |
162 |
162 |
324 |
149 |
|
 |
12 |
|
บ้านไร่ |
431 |
447 |
878 |
373 |
 |
|
13 |
|
บ้านเขาฟ้า |
223 |
218 |
441 |
155 |
|
 |
14 |
|
บ้านหินลาด |
285 |
232 |
517 |
208 |
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
รวม |
6,436 |
6,763 |
13,199 |
5,484 |
 |
|
|
ที่มา : สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง (ข้อมูลเดือน พฤศจิกายน 2559) |
|